ถ้าฟ้องบังคับจำนองเกิน 10 ปี ผลเป็นอย่างไร
ถ้าฟ้องบังคับจำนองเกิน 10 ปี ผลเป็นอย่างไร ถ้าศาลพิพากษาแล้ว ปรากฏว่าเจ้าหนี้ไม่
– บัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล (ถ้ามี)
– แบบแจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค.1)
– ใบรับแจ้งความประสงค์จะได้สิทธิในที่ดิน
– ใบจองหรือใบเหยียบย่ำ หรือตราจอง
– หนังสือรับรองการทำประโยชน์ (น.ส.3, น.ส.3 ก.,น.ส.3 ข) หรือใบสำคัญแสดงการนำที่ดินขึ้นทะเบียน
– ใบไต่สวนหรือใบนำ
– หนังสือแสดงการทำประโยชน์ ในกรณีที่ได้รับการจัดที่ดินในนิคมสร้างตนเองหรือสหกรณ์นิคม (น.ค.3 หรือกสน.5)
– หลักฐานการเสียภาษีที่ดิน หรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
– บัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนบ้าน ทะเบียนสมรส หลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัว ชื่อสกุล (ถ้ามี)
– แบบแจ้งการครอบครองที่ดิน (ส.ค.1)
– ใบรับแจ้งความประสงค์จะได้สิทธิในที่ดิน
– ใบจองหรือใบเหยียบย่ำ หรือตราจอง
– หนังสือแสดงการทำประโยชน์ ในกรณีที่ได้รับการจัดที่ดินในนิคมสร้างตนเองหรือสหกรณ์นิคม (น.ค.3 หรือกสน.5)
– หลักฐานการเสียภาษีที่ดินหรือหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง
ค่าธรรมเนียม
– ค่าคำขอแปลงละ 5 บาท
– ค่าประกาศแปลงละ 10 บาท
– ค่าธรรมเนียมรังวัดเกี่ยวกับโฉนดที่ดินแปลงละ 40 บาท
– ค่าธรรมเนียมการพิสูจน์สอบสวนเกี่ยวกับหนังสือรับรองการทำประโยชน์ แปลงละ 30 บาท
– ค่าหลักเขตที่ดิน หลักละ 15 บาท
ค่าธรรมเนียมออกโฉนดที่ดิน
– ที่ดินเนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ แปลงละ 50 บาท
– ที่ดินเนื้อที่เกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกินไร่ แปลงละเศษของไร่ให้คิดเป็นหนึ่งไร่ 2 บาท
ค่าธรรมเนียมออกหนังสือรับรองการทำประโยชน์
– ที่ดินเนื้อที่ไม่เกิน 20 ไร่ แปลงละ 30 บาท
– ที่ดินเนื้อที่เกิน 20 ไร่ ส่วนที่เกินไร่ แปลงละเศษของไร่ให้คิดเป็นหนึ่งไร่ 2 บาท
ค่าใช้จ่าย
– ค่าพาหนะเดินทางให้แก่เจ้าพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่และคนงาน ให้จ่ายเท่าที่จำเป็น และใช้จ่ายไปจริง
– ค่าเบี้ยเลี้ยง ให้แก่เจ้าพนักงาน พนักงานเจ้าหน้าที่และค่าจ้างคนงาน ให้จ่ายเท่าที่จำเป็นตามระเบียบของทางราชการ เท่าอัตราของทางราชการ
– ค่าป่วยการให้แก่พนักงานผู้ปกครองท้องที่หรือผู้แทนที่ไปในการรังวัดคนหนึ่งวันละ 50 บาท
– ค่าปิดประกาศให้แก่ผู้ปิดประกาศ แปลงละ 10 บาท
ถ้าฟ้องบังคับจำนองเกิน 10 ปี ผลเป็นอย่างไร ถ้าศาลพิพากษาแล้ว ปรากฏว่าเจ้าหนี้ไม่
บิดาหรือมารดาที่จดทะเบียนกัน จะฟ้องขอปกครองบุตรแต่เพียงผู้เดียว ต้องหย่ากันก่อนเ
รวมวิธีการป้องกัน ที่ดินถูกครอบครองปรปักษ์ เป็นเจ้าของที่ดินอยู่ดีๆ ผ่านไป 10 ปี
แบ่งมรดกไม่ลงตัว ทำอย่างไร #ทายาทต้องรู้แบ่งมรดกไม่ลงตัว ต้องทำอย่างไร แบ่งมรดกไ